Non-research Cooperative Agreement With Ministry of Public Health-Thailand
Year 1 (FY2022) (September 1, 2021 –  August 31, 2022)
35 Projects

BSO จำนวน 1 โครงการ

ลำดับ แผนงาน ชื่อโครงการภาษาอังกฤษ ชื่อโครงการภาษาไทย รหัสโครงการ หน่วยงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ วัตถุประสงค์
1 BSO Ministry of Public Health Coordinating Unit, Non Research หน่วยประสานความร่วมมือระหว่างกระทรวงสาธารณสุข และศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคแห่งชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา (U.S.CDC) ด้าน Non Research CU2-MOPH สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารสุข (กองยุทธศาสตร์และแผนงาน)  ดร.มะลิวัลย์ ยืนยงสุวรรณ 1. เพื่อสนับสนุนและอำนวยการบริหารจัดการโครงการ สำหรับการดำเนินกิจกรรมโครงการต่าง ๆ ตามข้อตกลงความร่วมมือด้าน Non-Research ที่ได้รับงบประมาณจากศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคแห่งชาติประเทศสหรัฐอเมริกา (U.S.CDC)
2. เพื่อพัฒนาและสนับสนุนการบริหารจัดการสำหรับการนิเทศติดตามและประเมินผล
กิจกรรมของโครงการต่าง ๆ ที่ได้รับการสนับสนุน
3. เพื่อประสานงานความร่วมมือกับเครือข่ายด้านสาธารณสุขเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรม
ของโครงการ ทั้งในส่วนกลางและระดับจังหวัด
4. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพให้แก่บุคลากรด้านสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่โครงการที่ได้รับการสนับสนุนการดำเนินงานให้มีความรู้ในการบริหารโครงการ
5. เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานงานโครงการให้เป็นไปตามข้อเสนอของแผน
กำกับและประเมินผลโครงการที่ได้ รับการสนับสนุนจากศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคแห่งชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา (U.S.CDC)

DGMQ จำนวน 4 โครงการ

ลำดับ แผนงาน ชื่อโครงการภาษาอังกฤษ ชื่อโครงการภาษาไทย รหัสโครงการ หน่วยงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ วัตถุประสงค์
1 DGMQ Multisectoral collaboration for Migrant Health Volunteer development in BKK for serious diseases prevention and control โครงการพัฒนารูปแบบความร่วมมือของ อสต. ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคระบาดร้ายแรง DGMQ-BKK-MHV กรมควบคุมโรค
(สถาบันป้องกันและควบคุมโรคเขตเมือง)
นางสาวสมรักษ์  ศิริเขตรกรณ์ 1. เพื่อพัฒนารูปแบบความร่วมมือของ อสต. ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคระบาดร้ายแรง
2. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคให้กับ อสต.
3. เพื่อส่งเสริมการให้วัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ในกลุ่มแรงงานต่างด้าว
2 DGMQ IHR Core Capacity Development at Ground Crossings to enhance adjacent border communities with temporary โครงการพัฒนาด่านพรมแดนเพื่อส่งเสริมชุมชนชายแดนที่อยู่ใกล้ด่านในการป้องกัน ตรวจจับ และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และโรคติดต่ออื่นๆ ที่แพร่กระจายข้ามพรมแดน DGMQ-CDPQ กรมควบคุมโรค
(กองด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ)
น.ส.มยุรฉัตร เบี้ยกลาง 1. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการด่านพรมแดนในการพัฒนาสมรรถนะหลักตามข้อกำหนดของกฎอนามัยระหว่างประเทศ
2. เพื่อสนับสนุนให้ด่านพรมแดนพัฒนาสมรรถนะในการส่งเสริมชุมชนชายแดนที่อยู่ใกล้กับด่านในการป้องกัน ตรวจจับ และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และโรคติดต่อสำคัญอื่นๆ ที่แพร่กระจายข้ามพรมแดน
3 DGMQ Enhancing multi-sectoral collaboration capacities for prevention, detection, and response to public health emergencies along border areas โครงการพัฒนาขีดความสามารถการทำงานร่วมกับหลายภาคส่วนเพื่อการป้องกัน ตรวจจับ และตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขในพื้นที่ชายแดน DGMQ-EMSC กรมควบคุมโรค
(สำนักความร่วมมือระหว่างประเทศ)
สพญ.เสาวพักตร์ ฮิ้นจ้อย 1. เพื่อจัดตั้งคณะทำงานเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการแลกเปลี่ยนข้อมูลการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคพื้นที่ชายแดนอย่างมีส่วนร่วมแบบหพุภาคี
2. เพื่อจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard operating procedure : SOP) แบบพหุภาคีในการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อตรวจจับ ป้องกันควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขในพื้นที่ชายแดน
3. เพื่อจัดทำรายงานสื่อสารความเสี่ยงและภัยสุขภาพแบบบูรณาการจากหน่วยงานกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงกลาโหม กระทรวงสาธารณสุข องค์กรนอกภาครัฐและเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ
4. เพื่อเสริมสร้างการแลกเปลี่ยนข้อมูลแนวใหม่แบบพหุภาคีเพื่อเฝ้าระวังโรคในประเทศกลุ่มลุ่มน้ำโขง (Mekong Basin Disease Surveillance : MBDS) เพื่อใช้ประโยชน์การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคในอนาคต
4 DGMQ Development of a Smart Travel Vaccination Certificate and Record System โครงการพัฒนาระบบอัจฉริยะในการเก็บข้อมูลและออกเอกสารรับรองการได้รับวัคซีนเพื่อการเดินทาง DGMQ-TVEP กรมควบคุมโรค
(สถาบันเวชศาสตร์ป้องกันศึกษา)
พญ.ปริญดา วัฒนศรี 1. เพื่อสร้างและกำหนดระบบมาตรฐานการเก็บรวบรวมข้อมูลวัคซีนการเดินทาง
2. เพื่อจัดทำ E-passport สำหรับนักเดินทางและท่องเที่ยว
3. เพื่อออกแบบแอพพลิเคชั่นที่ปรับใช้บนเว็บไซต์ (web-based application) ที่มีอยู่ใหม่
4. เพื่อให้คำแนะนำสำหรับการเดินทางตามจุดหมายปลายทางที่กำหนดและคำถามที่พบบ่อยในการเดินทาง

FLU จำนวน 8 โครงการ

ลำดับ แผนงาน ชื่อโครงการภาษาอังกฤษ ชื่อโครงการภาษาไทย รหัสโครงการ หน่วยงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ วัตถุประสงค์
1 FLU Establishing an integrated surveillance system for monitoring trend
and circulation of influenza subtypes and other respiratory pathogens
in travelers and residents of Bangkok seeking care at hospitals
โครงการพัฒนารูปแบบเฝ้าระวังแบบบูรณาการเพื่อติดตามแนวโน้มสถานการณ์และสายพันธุ์ไข้หวัดใหญ่และเชื้อก่อโรคระบบทางเดินหายใจอื่นๆ ในนักท่องเที่ยวและผู้พักอาศัยในกรุงเทพมหานคร ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล Flu-Bangkok กรมควบคุมโรค
(สถาบันป้องกันและควบคุมโรคเขตเมือง)
นางสาวสมรักษ์  ศิริเขตรกรณ์ 1. เพื่อเสริมสร้างความข้มแข็งระบบฝ้าระวังแบบบูรณาการ เพื่อติดตามแนวโน้มสถานการณ์และตรวจหาเชื้อไข้หวัดใหญ่ เชื้อก่อโรคระบบทางเดินหายใจอื่นๆ และไวรัสสายพันธุ์ใหมในกรุงเทพมหานคร
2. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายโรงพยาบาล สำหรับการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่และเชื้อก่อโรคระบบทางเดินหายใจอื่นๆ
3.เพื่อบูรณาการงานห้องปฏิบัติการในการดำเนินงานระบบเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงสายพันธุ์โดยใช้การถอดรหัสพันธุกรรมทั้งจีโนม (Whole -genome sequencing)
2 FLU Strengthen of the respiratory disease outbreak detection and response capacity โครงการพัฒนาศักยภาพระบบเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ Flu-DARRT กรมควบคุมโรค
(กองโรคติดต่อทั่วไป)
นางนพรัตน์ มงคลางกูร 1. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งการเฝ้าระวังและการตอบสนองต่อโรคระบบทางเดินหายใจในพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงใหม่
2. เพื่อพัฒนาระบบตรวจจับการระบาดของโรคทางเดินหายใจในพื้นที่ชายแดนได้อย่างทันท่วงที
3. เพื่อพัฒนารูปแบบการศึกษาด้านสุขภาพเพื่อตอบสนองและควบคุมการระบาดที่มีประสิทธิภาพ
4. เพื่อสนับสนุนการเฝ้าระวังโรคระบบทางเดินหายใจในจังหวัดเชียงใหม่
5. เพื่อพัฒนารูปแบบการเฝ้าระวังโรคระบบทางเดินหายใจในพื้นที่ชายแดน และขยายการดำเนินงานไปสู่พื้นที่ชายแดนในจังหวัดอื่นๆ ต่อไป
3 FLU Enhancement of Thailand’s Laboratory Capacity to Prepare and Respond for Pandemic Influenza and Viral Emerging Diseases through EQA program and educate the health personnel on influenza and other respiratory viruses including emerging viral diseases การเพิ่มศักยภาพของห้องปฏิบัติการของไทยในการเตรียมพร้อมและตอบสนองต่อ
โรคไข้หวัดใหญ่ระบาดและโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสผ่านโปรแกรม EQA  และให้ความรู้แก่บุคลากรสาธารณสุขเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่และไวรัสทางเดินหายใจ อื่นๆ รวมถึงโรคไวรัสที่เกิดขึ้นใหม่
Flu-Lab กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
(สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข)
ดร.พิไลลักษณ์ อัคคไพบูลย์ โอกาดะ 1. เพิ่มศักยภาพและความเชี่ยวชาญของห้องปฏิบัติการตรวจไข้หวัดใหญ่และไข้หวัดนก โดยผ่านโปรแกรมทดสอบความชำนาญ
2. เพื่อบูรณาการการใช้ Whole-genome sequencing ในระบบเฝ้าระวัง
3. เพื่อกระตุ้นเดือนและให้ความรู้กับบุคลากรทางด้านสาธารณสุข เกี่ยวกับเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่และโรคติดเชื้ออุบัติใหม่
4. เพื่อแลกเปลี่ยนและให้ข่าวสารกับประชาชนเกี่ยวกับเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่แล: โรคติดเชื้ออุบัติใทม่โดยผ่านทางเว็บไซต์ของสมาคมไวรัสวิทยา (ประเทศไทย)
4 FLU การศึกษาทบทวนรูปแบบการรักษาและผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับผลยืนยันทางห้องปฏิบัติการในประเทศไทย Flu-Osel กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์(ผู้อำนวยการกองป้องกันการบาดเจ็บ) นพ.สุทัศน์ โชตนพันธ์ 1. เพื่อรวบรวมข้อมูลและจัดทำเอกสารด้านการจัดการผู้ป่วยและแนวทางการใช้ยาต้านไวรัสที่สัมพันธ์กับแนวทางเวชปฏิบัติที่ใช้อยู่ในปัจจุบันในโรงพยาบาล 8 แห่งในประเทศไทย
2. เพื่อประเมินรูปแบบการรักษาที่สัมพันธ์กับแนวทางเวชปฏิบัติของผู้ป่วยในจากการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับการยืนยันจากทางห้องปฏิบัติการ เพื่อจัดทำเอกสารเกี่ยวกับความชุกของโรคไข้หวัดใหญ่จากผลการทดสอบวินิจฉัยโรคไข้หวัดใหญ่อย่างรวดเร็ว (Rapid influenza Diagnostic testing) ในโรงพยาบาลที่ทำการศึกษาทั้ง 8 แห่งในประเทศไทย
5 FLU Strengthen pandemic influenza preparedness (PIP) in Thailand โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งในการรับมือการระบาดใหญ่ของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทย Flu-PIP กรมควบคุมโรค
(กองโรคติดต่อทั่วไป)
สพญ.รัตนพร ตั้งวังวิวัฒน์ 1. พัฒนาแผนการรับมือ Standard Operating Procedure อย่างเป็นระบบ
2. พัฒนาแผนกการกระจายวัคซีนอย่างเป็นระบบ กรณีที่เกิดการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ในประเทศไทย โดยใช้ประสบการณ์จากการรับมือโรคติดเชื้อโคโรนา 2019
3. พัฒนารูปแบบการประสานงานเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญด้านไข้หวัดใหญ่ทั้งภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุข
6 FLU Strengthening the sentinel surveillance and response to influenza and respiratory tract infection in Thailand โครงการพัฒนาการฝ้าระวังโรคข้หวัดใหญ่เพื่อตรวจจับและตอบโต้การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่และโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจในประเทศไทย Flu-RightSize กรมควบคุมโรค
(กองระบาดวิทยา)
พญ.ภาวินี ด้วงเงิน 1. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่และโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจทั้งด้านกำลังคนและห้องปฏิบัติการ
2. เพื่อติดตามสถานการณ์และกำหนดจำนวนการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่และโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจที่เหมาะสม
3. เพื่อพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงานระบาดวิทยาและหน่วยงานชันสูตร ทั้งในระดับภูมิภาคและส่วนกลางเพื่อเตรียมความพร้อมในการตอบโต้การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่
4. เพื่อประเมินประสิทธิผลวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่และวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
7 FLU Enhancement of influenza treatment โครงการพัฒนาคุณภาพการรักษาไข้หวัดใหญ่ Flu-Treatment กรมการแพทย์
(กองวิชาการแพทย์)
พญ.นฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ 1. ทบทวนและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านวินิจฉัย และดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่ / ไข้หวัดใหญ่นก และโรคอุบัติใหม่-อุบัติซ้ำ ให้เป็นปัจจุบัน
2. สร้างเครือข่ายการวินิจฉัยและดูแลรักษาไข้หวัดใหญ่ ครอบคลุมเขตสุขภาพ
8 FLU A surveillance network to estimate the effectiveness of influenza and COVID-19 vaccines for preventing medically-attended, laboratory-confirmed illness to inform vaccine policy เครือข่ายเฝ้าระวังประสิทธิผลของวัคซีนไข้หวัดใหญ่และวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ชนิดที่ต้องมารับการตรวจรักษาเพื่อสนับสนุนนโยบายการให้วัคซีนของประเทศไทย Flu-VE-Network กรมการแพทย์
(ผู้อำนวยการสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี)
พญ.ปิยรัชต์ สันตรัตติวงศ์ 1. เพื่อประเมินประสิทธิผลของวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่และวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ชนิดที่ต้องเข้ารับการตรวจรักษา
2. เพื่ออธิบายลักษณะทางระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันจากเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่และเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (SARS-CoV-2)
3. เพื่อนำใปใช้ในการควบคุมและป้องกันโรคทางการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทย

DGHP จำนวน 11 โครงการ

ลำดับ แผนงาน ชื่อโครงการภาษาอังกฤษ ชื่อโครงการภาษาไทย รหัสโครงการ หน่วยงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ วัตถุประสงค์
1 DGHP The early warning and response system for strengthening Dengue Surveillance in the endemic areas in Thailand โครงการพัฒนาระบบเตือนภัยล่วงหน้าในระบบเฝ้าระวังเพื่อตอบสนองการระบาดของโลกไข้เลือดออกในประเทศไทย DGHP-Dengue-EWARS กรมควบคุมโรค
(ผู้อำนวยการกองโรคติดต่อนำโดยแมลง )
นพ.อภิญญา นิรมิตสันติพงษ์ 1. เพื่อพัฒนาระบบเตือนภัยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
2. เพื่อเสริมสร้างระบบเตือนภัยและตอบสนองต่อการระบาดของโรคไข้เลือดออก
3. เพื่อประเมินประสิทธิภาพและประโยชน์ของระบบการเตือนภัยและตอบสนองการระบาดของโรคไข้เลือดออก
2 DGHP Strengthen Capacity of Field Epidemiologists (all levels) for next global pandemic โครงการเสริมสร้างขีดความสามารถของนักระบาดวิทยาภาคสนามในทุกระดับ เพื่อเตรียมความพร้อมต่อการแพร่ระบาดระดับโลกในอนาคต DGHP-FETP กรมควบคุมโรค
(กองระบาดวิทยา)
นพ.ปณิธี  ธัมมวิจยะ 1. พัฒนาศักยภาพนักระบาดวิทยาภาคสนามซึ่งเป็นกลุ่มคนหลักในการรับมือกับการระบาดของโรคและควบคุมป้องกันโรค
2. สร้างความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวังโรคและแหล่งข้อมูล (pla tform ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลสำหรับการรับมือต่อการระบาดของโรคและภัยทางสาธารณสุข
3. บูรณาการข้อมูลและการใช้ประโยชน์เพื่อเป้าหมายที่ดีขึ้นและการตอบสนองต่อการระบาดและภัยคุมคามทางสาธารณสุข
4. เพื่อขยายเครือข่ายระบาดวิทยาภาคสนามไปสู่เครือข่ายสหสาขาวิชาชีพอื่น
3 DGHP Melioidosis prevention and control โครงการดำเนินงานเพื่อการป้องกันและควบคุมโรคเมลิออยด์ DGHP-MPC กรมควบคุมโรค
(กองโรคติดต่อทั่วไป)
สพญ.รัตนพร ตั้งวังวิวัฒน์ 1. เสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายโรคเมลิออยด์ และเพิ่มศักยภาพการแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกันระหว่างหน่วยงานในระดับประเทศ
2. เพิ่มศักยภาพในการตรวจเชื้อเมลิออยด์ทั้งห้องปฏิบัติการของคนและในสัตว์
3. เพิ่มความตระหนักรู้เกี่ยวกับโรคเมลิออยด์แก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและประชาชนทั่วไป
4 DGHP Capacity and Workforce Development to Strengthen Emergency Preparedness and Response Operations โครงการพัฒนาศักยภาพและกำลังคนเพื่อเสริมสร้างการเตรียมความพร้อมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน DGHP-IEOC กรมควบคุมโรค
(สำนักความร่วมมือระหว่างประเทศ)
สพญ.เสาวพักตร์ ฮิ้นจ้อย 1. เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถด้านสาธารณสุขในการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินสำหรับประเทศไทย กัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย และประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคอาเซียน
2. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายและปรับปรุงกลไกการประสานงานระหว่างประเทศในการรับมือและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
5 DGHP Prevalence and genetic study for important Bacterial Zoonosis disease in Thailand Q fever, Rickettsiosis, Bartonellosis, Brucellosis, Leptospirosis and
Melioidosis
การศึกษาความชุกและลักษณะทางพันธุกรรมของเชื่อแบคทีเรียที่ติดต่อจากสัตว์สู่คนที่สำคัญในประเทศไทย, ชื้อริกเก็ตเซีย คิวฟีเวอร์ บาร์โทเนโลชิส บรู้เชลโลสิส เลปโตสไปโรสิสและ เมลิออยโดสิส DGHP-BAC-ZOONOSIS กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
(สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข)
นสพ.เดชา แปงใจ 1. สามารถแจ้งเตือนภัย อธิบายความชุกของการติดเชื้อของโรคติตเชื้อริกเก็ตเซีย คิวฟีเวอร์ บาร์โทเนโลซิสบรูเซลโลสิส เลปโตสไปโรสิส และ เมลิออยโดสิส ในพื้นที่ ทำการศึกษา แพทย์สามารถนำข้อมูลไปใช้ในการประกอบการรักษาโรคได้ถูกต้อง แม่นยำ ทันเวลา
2. สถาชันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขสามารถพัฒนาชุดตรวจ ให้บริการตรวจวิเคราะห์และยืนยันเชื้อริกเก็ตเชีย คิวฟีเวอร์ บาร์โทเนโลซิส บรูเชลโลสิส เลปโตสไปโรสิส และ เมลิออยโดสิส รวมถึงถ่ายทอดไปยังห้องปฏิบัติการส่วนภูมิภาค
6 DGHP Strengthening public health emergency management through national and subnational exercises เสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข และการซ้อมแผนระดับประเทศและจังหวัด DGHP-PHEM กรมควบคุมโรค
(กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน)
น.ส.ประภาพร สมพงษ์ 1. เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน ด้วยการวิเคราะห์ช่องว่างและรูปแบบการฝึกซ้อมแผนการตอบสนองโรคติดต่ออุบัติใหม่และการบริหารจัดการวัคซีน
2. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินในระดับเขตและระดับจังหวัด
3. เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายด้านการจัดการภาวะฉุกเฉินในระดับเขตและระดับจังหวัด
7 DGHP Wastewater Surveillance โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จากบ่อบำบัดน้ำเสียในเรือนจำ DGHP-Wastewater กรมควบคุมโรค
(กองโรคติดต่อทั่วไป)
สพญ.รัตนพร ตั้งวังวิวัฒน์ 1. เพื่อพัฒนาการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในบ่อบำบัดน้ำเสีย
2. เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายด้านการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในบ่อบำบัดน้ำเสีย
3. เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ หรือ GIS สำหรับใช้เป็นเครื่องมือสนับสนุนการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวังโรคในพื้นที่
8 DGHP Strengthening Thailand’s Antimicrobial Resistance Surveillance Network การเสริมความเข้มแข็งเครือข่ายระบบเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย DGHP-STARS กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
(สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข)
ดร.พิไลลักษณ์ อัคคไพบูลย์ โอกาดะ 1. พัฒนาห้องปฏิบัติการอ้างอิงในภูมิภาคเพื่อรองรับการตรวจเชื้อ / ยีนดื้อยาร่วมกับส่วนกลางและสนับสนุนการควบคุมการติดเชื้อและการตอบโต้ด้านสาธารณสุขด้วยข้อมูลห้องปฏิบัติการที่รวดเร็วและใช้ได้จริง
2. เพื่อนำร่องช่องทางการสื่อสารและรายงานเชื้อดื้อยาระหว่างศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ (ศวก.) และสำนักงานควบคุมโรค / กองระบาดวิทยา
3. เพื่อบูรณาการการใช้ WGS ในระบบเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย
9 DGHP Strengthening Thailand Sub-National Emergency Operations Centers โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินระดับเขตและจังหวัด DGHP-Sub EOC กรมควบคุมโรค
(กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน)
น.ส.ประภาพร สมพงษ์ 1. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งการปฏิบัติงานของระบบศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินระดับเขต
2. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถบุคลากรของศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินระดับเขต ในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
3. เพื่อสนับสนุนองค์ความรู้ เครื่องมือที่จำเป็นในการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงานระดับเขต
10 DGHP Laboratory Workforce Development การพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านห้องปฏิบัติการ DGHP-Lab-Workforce กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
(สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข)
ดร.พิไลลักษณ์ อัคคไพบูลย์ โอกาดะ เพื่อจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมห้องปฏิบัติการระดับภูมิภาคสำหรับฝึกอบรมผู้นำด้านห้องปฏิบัติการ และเสริมสร้างศักยภาพการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการในระดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
11 DGHP Monitoring of SARS-COV-2 Genomic Variants In Bamrasnaradura Infectious Diseases Institute, Thailand การติดตามความเปลี่ยนแปลงสายพันธุ์ SARS-Cov-2 ที่สถาบันบำราศนราดูร ประเทศไทย DGHP-SARsVR-BIDI กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
(ผู้อำนวยการสถาบันบำราศนราดูร)
ดร.สุมลมาลย์ อุทยมกุล เพื่อตรวจสอบและติดตามการเปลี่ยนแปลงสายพันธุ์ของเชื้อ SARS CoV-2 โดยวิเคราะห์รหัสพันธุกรรมระดับโมเลกุลด้วยเทคโนโลยี Next Generation Sequencing และใช้เทคนิคอณูชีวโมเลกุลเพื่อตรวจหาเชื้อก่อโรคทางเดินหายใจชนิดอื่นร่วมด้วยในผู้ที่สงสัยติดเชื้อ COVID-19

DGHT จำนวน 11 โครงการ

ลำดับ แผนงาน ชื่อโครงการภาษาอังกฤษ ชื่อโครงการภาษาไทย รหัสโครงการ หน่วยงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ วัตถุประสงค์
1 DGHT Capacity Building and Global Technical Assistance โครงการเสริมสร้างศักยภาพและให้การสนับสนุนทางด้านวิชาการแผนงานการป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ GAP-CB สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารสุข (กองยุทธศาสตร์และแผนงาน) ภก.จักร เจริญศิลป์ชัย 1.เพื่อทำหน้าที่ประสานงาน และสร้างการเชื่อมโยงเครือข่ายโครงการและผู้เชี่ยวชาญทาง
วิชาการ สำหรับกิจกรรมภายใต้แผนงานการป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ (DGHT Program)
2.เพื่อสนับสนุนการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ด้านการเฝ้าระวังโรค
การป้องกัน และควบคุมโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
3.เพื่อร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการให้ความช่วยเหลือทางด้านวิชาการ รวมถึง
การฝึกอบรม และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินงานด้านการป้องกันและควบคุมโรคเอดส์
4.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนทางวิชาการ ให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข
ของประเทศไทย ได้พัฒนาศักยภาพในการไปให้คำปรึกษา และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดำเนินงาน
ด้านการป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ให้แก่ประเทศเพื่อนบ้าน
5.เพื่อจัดทำสรุปผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานตัวชี้วัดที่ PEPFAR กำหนดประจำไตรมาสและประจำปี
2 DGHT DAS-ARPA กรมควบคุมโรค
(กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์)
นางเครือทิพย์  จันทรธานีวัฒน์
3 DGHT Accelerating comprehensive HIV treatment and care to achieve 95-95-95 โครงการเร่งรัดการดูแลรักษาด้านเอชไอวีเพื่อมุ่งสู่ 95-95-95 DAS-TC กรมควบคุมโรค
(กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์)
1. นางพัชรภรณ์ ภวภูตานนท์
2. นางเครือทิพย์  จันทรธานีวัฒน์
3. น.ส.ลาวัลย์ สันติชินกุล
1. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรทางการแพทย์ในด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี / เอดส์ ให้มีความเป็นอยู่ที่ดีอย่างต่อเนื่อง
2. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบสาธารณสุขและจัดการผลกระทบทางด้านสาธารณสุข ด้วยการเข้าถึงบริการ การสร้างความยั่งยืนในการดูแลรักษา การจัดบริการที่มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ รวมถึงมีกิจกรรมสำคัญที่ส่งผลให้บรรลุเป้าหมาย 95-95-95
4 DGHT โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบริการและศักยภาพบุคลากรด้านห้องปฏิบัติการเพื่อมุ่งสู่ 95-95-95 DAS-LAB กรมควบคุมโรค
(กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์)
น.ส.นภารัตน์  ภัทรประยูร 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนางานด้านการตรวจทางห้องปฏิบัติการให้เกิดการสนับสนุนด้านการป้องกัน และดูแลรักษาเอชไอวีและเอดส์ ให้บรรลุเป้าหมาย 95-95-95
2.เพื่อให้ห้องปฏิบัติการเกิดการปรับปรุงคุณภาพการบริการด้านการตรวจทางห้องปฏิบัติการให้มีประสิทธิภาพในการติดตามการรักษา
3.เพื่อพัฒนาศักยภาพทางห้องปฏิบัติการในการนำนวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้สนับสนุนแผนงานป้องกันและรักษาด้านเอชไอวีให้ตรงตามกลุ่มเป้าหมาย
5 DGHT Enhancing online reach strategies and linkage to HIV-testing and treatment among high-risk adolescents focusing on MSM/TG women โครงการเสริมสร้างกลยุทธ์การเข้าถึงเครือข่ายออนไลน์ เพื่อส่งเสริมการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี และการดูแลรักษาในวัยรุ่นที่มีความเสี่ยงสูงและวัยรุ่นชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายและสาวประเภทสอง DAS-AMSM กรมควบคุมโรค
(กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์)
พญ.อัจฉรา  ภักดีพินิจ 1. เพื่อพัฒนารูปแบบการเข้าถึงการป้องกัน การตรวจ การให้ความรู้เรื่องเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มวัยรุ่นที่มีความเสี่ยงสูง วัยรุ่นชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายและสาวประเภทสอง โดยใช้คลินิกออนไลน์เป็นกลยุทธ์ในการเข้าถึงบริการของกลุ่มเป้าหมาย
2. เพื่อสร้างเครือข่ายและหารูปแบบที่เหมาะสมในการจัดบริการป้องกัน การตรวจเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มวัยรุ่นที่มีความเสี่ยงสูง วัยรุ่นชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายและสาวประเภทสองรวมถึงส่งต่อผู้ติดเชื้อเข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
6 DGHT Strengthening the quality of HIV laboratories in the region โครงการส่งเสริมคุณภาพห้องปฏิบัติการตรวจเอชไอวีในภูมิภาค NIH-LAB กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
(สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข)
ดร.สุภาพร  สุภารักษ์ 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพและศักยภาพของห้องปฏิบัติการ เพื่อสนับสนุนด้านวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ โดยชุดตรวจ HIV-1 rapid Recency test ให้แก่ห้องปฏิบัติการที่เข้าร่วมโครงการฯ และขยายเครือข่ายการถ่ายทอดเทคโนโลยีไปต่างประเทศในภูมิภาค
2. เพื่อพัฒนาระบบการทดสอบความชำนาญห้องปฏิบัติการ (National Proficiency Testing) และการควบคุมคุณภาพ (External Quality Control) ของชุดตรวจ HIV-1 Rapid Recency test และ HIV VL เพื่อรองรับการขยายเครือข่ายห้องปฏิบัติการเพื่อเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีภายในประเทศไทย และดำเนินการนำร่องในห้องปฏิบัติการของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อให้มั่นใจในคุณภาพของผลการทดสอบ
7 DGHT Active case findings and innovative prevention for sustainable reduction in HIV transmission among high risk population โครงการพัฒนานวัตกรรมการป้องกันและค้นหาผู้มีพฤติกรรมเสี่ยงสูงต่อการรับและถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งการจัดบริการเอชไอวีของระบบบริการสุขภาพอย่างยั่งยืน ACT-PREV กรมควบคุมโรค
(กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์)
น.ส.เพลินพิศ  พรหมมะลิ 1. เพื่อเพิ่มการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีของผู้ที่ยังไม่ได้รับการวินิจฉัยผ่านการค้นหาเชิงรุกและการตรวจที่มีประสิทธิภาพ อาทิ การชวนคู่ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีมาตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี การใช้กลยุทธ์เครือข่ายสังคมออนไลน์ และการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีด้วยตนเอง
2. เพื่อเพิ่มการเข้าถึงและรับบริการยาป้องกันก่อนการสัมผัสเชื้อเอชไอวีในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง
3. เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการด้านเอชไอวีและเอดส์ด้วยการพัฒนาระบบการติดตามการดูแลรักษาโดยการมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชน
4. เพื่อส่งเสริมการรับรองอาสาสมัครองค์กรภาคประชาสังคม และการรับรองคุณภาพการจัดบริการขององค์กรภาคประชาสังคม รวมถึงการพัฒนาระบบการกำกับติดตามในระดับพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม
8 DGHT Innovation surveillance and strengthening national and sub-national strategic information, monitoring & evaluation systems for HIV epidemic control โครงการนวัตกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบข้อมูลเชิงกลยุทธ์และระบบติดตามประเมินผลเพื่อการดำเนินงานยุติปัญหาเอดส์ SI-INFO กรมควบคุมโรค
(กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์)
นางนิรมล  ปัญสุวรรณ 1. พัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบข้อมูลเชิงกลยุทธ์และระบบติดตามประเมินผลการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคไวรัสตับอักเสบบีและซี
2. พัฒนาคุณภาพข้อมูลจากระบบสารสนเทศสุขภาพ โปรแกรมการดำเนินงานและระบบติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโรคไวรัสตับอักเสบบีและซี
3. ส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์และพัฒนาศักยภาพบุคลากรหรือเครือข่ายการดำเนินงานในระดับพื้นที่ ตั้งแต่กระบวนการรวบรวม เรียบเรียง วิเคราะห์และนำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน พัฒนากลยุทธ์ ติดตามการดำเนินงาน และระดมทรัพยากรทั้งในระดับประเทศ เขต จังหวัดและพื้นที่
9 DGHT Innovative surveillance and strengthening national and sub-national strategic information and monitoring & evaluation systems for HIV epidemic control โครงการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานการยุติปัญหาเอดส์ระดับประเทศและพื้นที่ SI-ME กรมควบคุมโรค
(กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์)
1. นางพรทิพย์ เข็มเงิน
2.นางสาว นภกานต์ คนซื่อ
2. น.ส.วรรณรัตน์ มากำเนิด
1. เพื่อติดตามผลการดำเนินงานโครงการฯ และการขับเคลื่อนงานยุติปัญหาเอดส์ ระดับส่วนกลางและระดับพื้นที่
2. พัฒนาหลักสูตรการติดตามและประเมินผลเพื่อส่งเสริมการใช้ข้อมูล พัฒนาศักยภาพด้านการติดตามและประเมินผลในระดับเขตและจังหวัด
3. ส่งเสริมให้เกิดกลไกการกำกับติดตามการดำเนินงานแบบบูรณาการ ระหว่างภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ ภาคประชาสังคมและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก (key stakeholders) สู่การบรรลุเป้าหมายยุติเอดส์ร่วมกัน
10 DGHT Innovative surveillance and strengthening national and sub-national strategic
information, monitoring & evaluation systems for HIV epidemic control
โครงการนวัดกรรมการเฝ้าระวัง และเสริมสร้างความเข้มแข็งของข้อมูลเซ็งยุทธศาสตร์ระดับประเทศ เขต และจังหวัด รวมถึงการติดตามและประเมินผลมาตรการควบคุม ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีของประเทศไทย SI-SUR-ICT กรมควบคุมโรค
(กองระบาดวิทยา)
นพ.ฐิติพงษ์ ยิ่งยง 1. เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอซไอวีรายใหม่ ในการติดตามและตอบสนองด้านสาธารณสุข ในกลุ่มผู้ติดเชื้อเอซไอวีรายใหม่
2.เพื่อพัฒนาระบบการรายงานการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อเอซไอวี และส่งเสริมให้มีการนำข้อมูลไปใช้ในการติดตามการดำเนินงานป้องกันและดูแลรักษา
3. เพื่อนำข้อมูลจากระบบรายงานและระบบเฝ้าระวังไปใช้ประโยชน์ ในการคาดประมาณสถานการณ์ของการติดเชื้อเอซไอวีของประเทศ
11 DGHT Strengthening international and cross border cooperation for technical innovation and information sharing to end AIDS and STIs โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งกลไกความร่วมมือระหว่างประเทศและนวัตกรรมเพื่อเสิรมสร้างขีดความสามารถในการสนับสนุนการยุติปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ITCS กรมควบคุมโรค
(กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์)
น.ส.ปาริชาติ จันทร์จรัส 1. เสริมสร้างขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทั้งประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านในการป้องกันและรักษาเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการลดการตีตราและเลือกปฏิบัติ
2. เสริมสร้างความร่วมมือข้ามพรมแดนด้านเอชไอวีเพื่อส่งเสริมการดูแลรักษาวัณโรค / เอชไอวี อย่างต่อเนื่องในกลุ่มแรงงานข้ามชาติกับประเทศเพื่อนบ้านของไทย

Non-research Cooperative Agreement With Ministry of Public Health-Thailand

Year 1 (FY2022) (September 1, 2021 –  August 31, 2022)
3 Projects

BMA จำนวน 3 โครงการ

ลำดับ แผนงาน ชื่อโครงการภาษาอังกฤษ ชื่อโครงการภาษาไทย รหัสโครงการ หน่วยงาน ผู้รับผิดชอบโครงการ วัตถุประสงค์
1 BMA Bangkok Metropolitan
Administration Coordinating Unit
โครงการหน่วยประสานงานโครงการภายใต้ความร่วมมือระหว่างกรุงเทพมหานคร
และศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรั ฐ ด้านสาธารณสุข
BMA-BCU สำนักการแพทย์  พญ. เลิศลักษณ์ ลีลาเรืองแสง 1. ให้ข้อเสนอแนะด้านนโยบาย ควบคุมกำกับและประเมินผล และสร้างความเข้มแข็งด้าน
บริหารจัดการโครงการ โดยรับโยบายและการสั่งการจากคณะกรรมการบริหารฯ และคณะกรรมการดำเนินงานฯ
2. ประสานงานและสนับสนุนการดำเนินงานของโครงการภายใต้ความร่วมมือฯ รวมทั้งการ
บริหารจัดการ ตรวจสอบด้านการเงิน ให้โครงการประสบผลสำเร็จ
3. พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้นบริหารจัดการและวิซาการสาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง เพื่อการ
ดำเนินงานที่ยั่งยืนต่อไป
4. ส่งเสริมการและสนับสนุน แลกเปลี่ยนข้อมูล สรุปบทเรียนแนวทางการปฏิบัติที่ดี ของ
บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานอื่น ๆ
2 BMA Accelerating comprehensive HIV prevention, treatment and care to achieve
95-95-95 in the Bangkok Metropolitan Administration (BMA)
โครงการเร่งรัดการป้องกันและดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและประชากรกลุ่มเสี่ยง
เพื่อบรรลุ 95-95-95 โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร (BMA-MSD)
BMA-MSD สำนักการแพทย์  พญ. เลิศลักษณ์ ลีลาเรืองแสง 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอซไอวี และส่งเสริมรูปแบบการดำเนินงาน
ในการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอซไอวี เพื่อบรรลุเป้าหมาย ๔๕ ที่ ๒ และ ๙๕ ที่ 3 โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
2. เพื่อเพิ่มการค้นหาผู้ติดเชื้อเอซไอวีและการส่งสริมการเข้าถึงบริการยาต้านไวรัสก่อนการสัมผัสเชื้อ (PrEP: Pre-Exposure Prophylaxis) เพื่อป้องกันการติดเชื้อเอซไอวีในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง
3. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพห้องปฏิบัติการในการสนับสนุนบริการป้องกันและดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี และการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอซไอวีเพื่อการ์ควบคุมป้องกัน
3 BMA โครงการพัฒนาระบบบริการให้ครอบคลุมด้านการป้องกัน ดูแล และรักษาเอชไอวี
เพื่อบรรลูเป้าหมาย 95-95-95 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
BMA-HD สำนักการแพทย์  พญ. เลิศลักษณ์ ลีลาเรืองแสง 1. เพื่อเสริมสร้างคุณภาพการบริการดูแสรักษาเอซไอวี และส่งเสริมการบริการด้านการดูแลรักษาเอชไอวีในสถานบริการสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ๙๕-๙๕-๙๕
2. เพื่อเพิ่มการเข้าถึงการตรวจเอขไอวีในผู้ติดเชื้อที่ยังไมได้รับการวินิจฉัยและส่งต่อรับยาต้านไวรัส รวมถึงเพิ่มการตรวจเอชไอวีในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงสูงและการเข้าถึงบริการเพร็พเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในกรุงเทพมหานคร
3. เพื่อเสริมสร้างคุณภาพระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอซไอวี การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ของกิจกรรมตอบสนองด้านเอซไอวี ในกลุ่มประชากรหลักและประซากรทั่วไป และเสริมสร้างความสามารถของบุคลากรในการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในการวางแผนที่เหมาะสมตามบริบทของหน่วยบริการสุขภาพในระดับต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร
4. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและคุณภาพงานบริการทางห้องปฏิบัติการเพื่อเพื่อสนับสนุนงานป้องกันควบคุมเอชไอวี งานดูแลรักษาด้านเอชอวี และโครงการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของเอซไอวี ในกรุงเทพมหานคร
4 BMA Improving surveillance and responses to prevent the occurrence and spreading of antimicrobial drug resistance at BMA hospitals. โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานป้องกันการเกิดและการแพร่ระบาดของ
เชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล สังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
BMA-AMR สำนักการแพทย์  พญ. เลิศลักษณ์ ลีลาเรืองแสง 1. พัฒนาศักยภาพระบบการจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพของโรงพยาบาล ในสังกัดสำนักการแพทย์
2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้สามารถดำเนินงานป้องกันการเกิดและควบคุมการแพร่เชื้อดื้อต่อยาปฏิชีวนะได้อย่างมีมาตรฐาน
3. พัฒนาเครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศใช้ในการช่วยสนับสนุนการดำเนินงานจัดการเชื้อดื้อต่อยาปฏิชีวนะให้มีประสิทธิภาพ