Non-research Cooperative Agreement With Ministry of Public Health-Thailand
Year 3 (FY2019) (September 1, 2018 –  August 31, 2019)
36 Projects

No. Program Project Code Project Name ชื่อโครงการภาษาไทย หน่วยงาน Project Investigator (PI) วัตถุประสงค์ ผู้รับผิดชอบโครงการ
1 BSO CU2-MOPH Ministry of Public Health Coordinating Unit โครงการหน่วยประสานความร่วมมือด้านสาธารณสุขตามข้อตกลงความร่วมมือด้าน Non Research ระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและ U.S.CDC กองยุทธศาสตร์และแผนงาน ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน 1) เพื่อสนับสนุนและอำนวยการบริหารจัดการโครงการ สำหรับการดำเนินกิจกรรม
โครงการต่างๆ ตามข้อตกลงด้าน Non Research
2) พัฒนาและสนับสนุนการบริหารจัดการ สำหรับการนิเทศติดตามประเมินผล กิจกรรมของโครงการต่างๆ
ที่ได้รับการสนับสนุน
3) ประสานงานความร่วมมือกับเครือข่ายด้านสาธารณสุข
เกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรม ของโครงการ ทั้งในส่วนกลางและระดับจังหวัด
4) เสริมสร้างศักยภาพให้แก่บุคลากรด้านสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่โครงการให้มีความรู้ในการบริหารโครงการ
5)  ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการให้เป็นไปตามข้อเสนอของแผนกำกับและประเมินผลโครงการ ที่ได้รับการสนับสนุนจาก U.S.CDC
2 BSO CEI-NR Development of Center of Excellence in Informatics, MOPH, Thailand โครงการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศด้านข้อมูล สำนักระบาดวิทยา ผู้อำนวยการสำนักระบาดวิทยา 1). สร้างความเข้มแข็งและพัฒนาศักยภาพศูนย์ความเป็นเลิศด้านสารสนเทศ ภายในกรมควบคุมโรค
2) เพื่อเพิ่มความแม่นยำในการพยากรณ์โรค
3) เตรียมความพร้อมด้านข้อมูล
4) จัดทำแนวทางการบริหารข้อมูล
5) พัฒนาบุคคลากรด้านข้อมูล
นายปณิธี ธัมมวิจยะ
3 DGMQ DGMQ-NR6 Development of global health security and migrant health management : Strengthening migrant friendly healthcare at the border 2019 โครงการประเมินและพัฒนากรอบยุทธศาสตร์การตรวจสุขภาพแรงงานข้ามชาติ : เสริมสร้างให้บริการสุขภาพที่เป็นมิตรในพื้นที่ชายแดนปี 2562 กองยุทธศาสตร์และแผนงาน ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน 1) เพื่อศึกษาและประเมินระบบบริการที่เป็นมิตรต่อแรงงานข้ามชาติในเขตพื้นที่
ชายแดน
2) จัดทำข้อเสนอแนะรูปแบบการพัฒนาระบบการให้บริการสุขภาพ
ที่เป็นมิตรต่อแรงงานข้ามชาติในเขตพื้นที่ชายแดน
นายแพทย์ชนินันท์  สนธิไชย
4 NCD NCD-Cancer Workforce Development in Cancer Work and Strengthening Quality of Cancer Registry for cancer prevention and control in Thailand โครงการการเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรและการพัฒนาคุณภาพการทำทะเบียนมะเร็งสำหรับการป้องกันและควบคุมมะเร็งในประเทศไทย สถาบันมะเร็งแห่งชาติ ผู้อำนวยการสถาบันมะเร็งแห่งชาติ เพื่อ ยกระดับจากทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล เป็นทะเบียนมะเร็ง
ระดับประชากร ในจังหวัดราชบุรี และจังหวัดร้อยเอ็ด
ดร. ศุลีพร แสงกระจ่าง
5 NCD FETP-NCD Capacity Building for NCDs control in the Field Epidemiology Training Program โครงการพัฒนาความสามารถด้านการควบคุมโรคไม่ติดต่อสำหรับการฝึกอบรมผู้เชี่ยวชาญด้านระบาดวิทยาภาคสนาม ปีงบประมาณ พ.ศ 2562 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ผู้อำนวยการสำนักระบาดวิทยา 1) เพื่อพัฒนากำลังคนด้านระบาดวิทยาภาคสนาม ให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ
ด้านโรคไม่ติดต่อโดยเฉพาะ กลุ่มโรคหัวใจ หลอดเลือดและปัจจัยเสี่ยง
2) ลดปัญหาการขาดแคลนนักระบาดวิทยาภาคสนาม ที่มีความรู้ทางด้านโรค
ไม่ติดต่อ โดยเฉพาะ โรคหัวใจ หลอดเลือด
3) เพื่อพัฒนาศักยภาพและเครือข่ายด้านระบาดวิทยา โรคไม่ติดต่อของอาจารย์
ในโครงการฝึกอบรมผู้เชี่ยวชาญด้านระบาดวิทยาภาคสนาม (FETP)
นายแพทย์เฉวตสรร นามวาท / แพทย์หญิงพันธนีย์ ธิติชัย
6 DGHT CARE-COACH Establish policies and systems to support sustainable HIV prevention and continuum of care program for key populations-Strengthening system for HIV monitoring, supervision, and coaching โครงการส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ภายใต้รูปแบบการพัฒคุณภาพเฉพาะรายโรคเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปีที่3 สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1) ส่งเสริมให้เกิดการติดตามคุณภาพการดูแลรักษา RRTTR รวมถึงการรับรอง
คุณภาพรายดรคด้านHIV/AIDS และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในสถานบริการ
2) สนับสนุนด้านวิชาการให้กับสถายพยาบาลในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร
และสร้างระบบคุณภาพให้เข้มแข็ง ทั้งงานป้องกัน และดูแลรักษา HIV/AIDS
นายฐิติรัตน์ จรัญญนันท์
7 DGHT CARE-COACH PIF Establish policies and systems to support sustainable HIV prevention and continuum of care program for key populations-Strengthening system for HIV monitoring, supervision, and coaching – PEPFAR Incentive Fun โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริการป้องกันดูแลรักษาเอชไอวีและเอดส์เพื่อการขับเคลื่อนแนวนโยบายการยุติปัญหาเอดส์ระดับประเทศ สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1) เพื่อส่งเสริมการใช้ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ในการวางแผนยุติปัญหาเอดส์
ระดับจังหวัด
2) เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลไกการประสานงานระดับจังหวัด
ในการขับเคลื่อนการป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ทั้งการติดตามการดำเนินงานระดับจังหวัด เน้นการพัฒนาแผนการยุติเอดส์ 10 จังหวัด
นายฐิติรัตน์ จรัญญนันท์
8 DGHT Diff-CARE Differentiated care and task sharing โครงการพัฒนารูปแบบการจัดบริการที่มีผู้ป่วยเอชไอวี/เอดส์เป็นศูนย์กลาง ตามบริบทของหน่วยบริการสุขภาพ สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1) ขยายรูปแบบการให้บริการ แบบ Differentiated care and task sharing
และติดตามการบริการให้ครอบคลุมภายในจังหวัดเครือข่าย (นครราชสีมา ขอนแก่น
และภูเก็ต)
2) ติดตามและประเมินผลการดเนินงาน ในจังหวัดดังกล่าว
3) สร้างกลไกการสนับสนุน การดำเนินงานในระดับพื้นที่ เพื่อขับเคลื่อนการทำงาน
ในรูปแบบดังกล่าว
นางสาววลัยรัตน์ ไชยฟู
9 DGHT GAP-CB Global TA & GAP Management โครงการเสริมสร้างศักยภาพและให้การสนับสนุนทางวิชาการภายใต้แผนงานการป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ กองยุทธศาสตร์และแผนงาน ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน 1)เสริมสร้างศักยภาพและให้การสนับสนุนด้านวิชาการ สำหรับโครงการต่างๆ
2) ให้การประเทศเพื่อนบ้าน ด้านวิชการ การบริหารจัดการโครงการ
และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การป้องกันและควบคุมโรคเอดส์
3) ติดตามผลการดำเนินงานโครงการเพื่อให้การดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
นายชนินันท์ สนธิไชย
10 DGHT ITC Strengthening and Promoting the ITC as an ASEAN Center of Excellence for International Disease Control Academy โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งและส่งเสริมศักยภาพความเป็นเลิศของการเป็นศูนย์กลางอาเซียนในการฝึกอบรมนานาชาติด้านเอชไอวี/เอดส์และโรคอื่นๆ สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1) พัฒนาศักยภาพของศูนย์กลางการศึกษาและฝึกอบรม ด้านการป้องกันควบคุมโรคiระดับนานาชาติเพื่อให้ให้เป็นศูนย์ฝึกอบรมนานาชาติที่สามารถพึ่งพาตัวเองได้อย่างยั่งยืน
2) พัฒนาหลักสูตรเรื่องการลดการตีตราและลือกปฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อ
เอชไอวี ในสถานบริการ
3) จัดฝึกอบรมให้ผู้เข้าร่วมอบรมจากต่างประเทศ
4) พัฒนาแผนการศึกษารดูงานที่แบ่งปันประสบการณ์การพัฒนานโยบายของไทย
กับผู้วางแผนนโยบาย จากต่างประเทศ
นางธนพรรณ  ฟองศิริ
11 DGHT YMSM-Cascade Increasing HIV-testing among young MSM/TG and strengthening HIV treatment and care cascade โครงการส่งเสริมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี และเสริมสร้างความครอบคลุมของการดูแลรักษาในวัยรุ่นชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายและสาวประเภทสอง สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1) เพื่อพัมนารูปแบบการเข้าถึงการป้องกัน การตรวจ การให้ความรู้เรื่องเอชไอวี
และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มวัยรุ่นชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย
และสาวประเภทสอง โดยใช้คลินิกออนไลน์ เป็นกลยุทธในการเข้าถึงบริการ
2) สร้างเครือข่ายและหารูปแบบที่เหมาะสม ในการจัดบริการป้องกัน การตรวจเอชไอวี และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มวัยรุ่นชาย MSM/TG รวมถึงส่งต่อผู้ติดเชื้อเข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
3) พัฒนาและประเมินรูปแบบการป้องกันและดูแลรักษากลุ่มวัยรุ่นชาย MSM/TG
ที่ติดเชื้อเอชไอวี (Happy EM model) เพื่อเป็นต้นแบบให้หน่วยบริการในพื้นที่อื่น
นางพัชราภรณ์ ภวภูตานนท์
12 DGHT LAB-Strategy Enhancing the qualiy of HIV related point-of-care testing โครงการส่งเสริมคุณภาพการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ณ จุดดูแลผู้ป่วยในสถานบริการที่ไม่ใช่ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์และหน่วยปฐมภูมิ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 1) พัฒนารูปแบบการให้บริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี โดยสหสาขาวิชาชีพที่มี
คุณภาพและได้มาตรฐานสำหรับสถานบริการที่ไม่ใช่ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
– ส่งเสริมให้หน่วยบริการปฐมภูมิและชุมชน มีคุณภาพมาตรฐานในการดำเนินงาน
ด้านเอชไอวีโดยการจัดทำเอกสารแนวทางการตรวจ การรายงานผล และเครื่องมือ
(SOP-WI) จัดเตรียมชุด Spill kit สำหรับการลงพื้นที่แยกตามZone
2)  เร่งรัดการยุติปัญหาเอดส์โดยจัดทำชุดบริการที่มีประสิทธิภาพ ให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงสูง (MSM/TG) ในการเข้าถึง (Reach) การนำเข้าสูบริการ (Recruit) และการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี (Test)
ดร.บุษราวรรณ  ศรีวรรธนะ
13 DGHT PIF-M&E PEPFAR Incentive Fund For Provincial partnership and system development to integrate community-based HIV services in Thailand Ending AIDS Program – PIF โครงการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานพัฒนาความร่วมมือในการยุติปัญหาเอดส์ระดับประเทศและพื้นที่ และการพัฒนามาตรฐานการดำเนินงานเอชไอวีในชุมชน การสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1) เพื่อติดตามการำเนินงานโครงการ ระดับส่วนกลาง และระดับพื้นที่
ใน 13 จังหวัด 2) เพื่อประเมินรูปแบบการให้บริการ RRTTR  เชิงปริมาณ และคุณภาพใน 13 จังหวัด  3) ประเมินผลการลดการตีตราและเลือกปฏิบัติในสถานบริการของประเทศไทย และประเมินรูปแบบการบริหารจัดการกลไกการสนับสนุนงบประมาณให้องค์กรชุมชนเพื่อการดำเนินงานควบคุม HIV/AIDS ในระดับพื้นที่
4) จัดทำมาตรฐาน การให้บริการเอชไอวี ในชุมชน
นางพรทิพย์ เข็มเงิน
14 DGHT PIF-CBO PEPFAR Incentive Fund for Provincial partnership and system development to integrate community-based HIV โครงการพัฒนารูปแบบกลไกการสนับสนุนงบประมาณให้แก่องค์กรชุมชนเพื่อการดำเนินงานเอชไอวีในพื้นที่ สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนให้เข้าถึงกลไก
การสนับสนุนงบประมาณและทรัพยากรในแหล่งทุนระดับต่างๆภายในประเทศ
2) เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานด้านการป้องกันเอชไอวีขององค์กรชุมชนในช่วง
เปลียนผ่าน (GF-Transition) ให้เกิดความต่อเนื่อง ในระดับพื้นที่ 4 จังหวัด
อุดร ขอนแก่น นครราชสีมา และภูเก็ต
นางเพ็ญศรี สวัสดิ์เจริญยิ่ง
15 DGHT PIF-PCM-HF PEPFAR Incentive Fund for Provincial partnership and system development to integrate community-based HIV services in Thailand Ending AIDS Program – PCM-HF โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งกลไกการประสานงานระดับจังหวัด และการส่งเสริมการใช้ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ในการติดตามการดำเนินงาน การจัดทำแผนยุติปัญหาเอดส์และการระดมทรัพยากร สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1) เพื่อส่งเสริมการใช้ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ ในการวางแผนยุติปัญหาเอดส์
ระดับจังหวัด
2) เพื่อเสิมสร้างความเข้มแข็งของกลไกการประสานงานระดับจังหวัด ในการ
ขับเคลื่อนการป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ทั้งด้านการดำเนินงานและการติดตามการดำเนินงานใน 10 จังหวัดเป้าหมาย ( กทม. นนทบุรี
ปทุมธานี เชียงราย ขอนแก่น อุบล อุดร นครราชสีมา สงขลา ภูเก็ต)
นางเพ็ญศรี สวัสดิ์เจริญยิ่ง
16 DGHT PIF-S&D PEPFAR Incentive Fund for Provincial partnership and system development to integrate community‐based HIV services in Thailand Ending AIDS Program – S&D โครงการพัฒนาความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพบริการเพื่อส่งเสริมสถานบริการสุขภาพที่ปราศจากการตีตราและเลือกปฏิบัติต่อผู้มีเชื่อเอชไอวีและกลุ่มประชากรหลัก สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์   เพื่อพัฒนาความร่วมมือการพัฒนาคุณภาพบริการเพื่อส่งเสริมสถานบริการ
ภาพที่ปราศจากการตีตราและเลือกปฏิบัติต่อผู้อยู่ร่วมกับเชื้อ เอชไอวีและ
กลุ่มประชากรหลัก
นส.ปาริชาติ จันทร์จรัศ
18 DGHT PrEP2START-SL Starting Pre-Exposure Prophylaxis and immediate ART to reduce HIV transmission among MSM/TG in Thailand – Site-Level โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการสาธารณสุขและศักยภาพบุคลากรเพื่อเพิ่มการเข้าถึงการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ด้วยยาต้านไวรัสก่อนการสัมผัสเชื้อเอชไอวี และการให้บริการยาต้านไวรัสโดยไม่คำนึงระดับซีดี 4 สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1) ค้นหาและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย MSM /TG ที่มีพฤติกรรม เพื่อรับรู้ข้อมูล
ความเสี่ยงและประโยชน์ของการรับบริการตรวจเอชไอวี เพื่อทราบสถานะการ
ติดเชื้อของตนเองดดยเร็วที่สุด (Reach/Recruit/Test)
2) ส่งต่อกลุ่มเป้าหมาย ที่ติดเชื้อเข้าสู่ระบบการดูแลรักษา และติดตามให้ได้รับยาอย่างต่อเนื่อง (Treat/Retrain)
3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ติดเชื้อเอชไอวี แต่มีความเสี่ยงสูง ได้รับบริการ PrEp ให้เป็นทางเลือกในการป้องกันตนเอง ตลอดจนสร้างความเข้าใจและความต้องการสำหรับประชากรกลุ่มนี้ต่อบริการ PrEP ภายใต้ระบบดูแลรักษาสุขภาพ
ตามปกติในสถานบริการของรัฐ
นางนุชนารถ แก้วดำเกิง
19 DGHT PrEP2START-SL-HIVST Starting Pre‐Exposure Prophylaxis and immediate ARV to reduce HIV transmission among MSM/TG in Thailand โครงการศึกษารูปแบบการดำเนินงานให้บริการชุดตรวจเอชไอวีด้วยตนเอง สำหรับกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM) / สาวประเภทสอง (TG) และผู้ที่มีความเสี่ยงสูง การสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1) เพื่อศึกษาความสนใจของผู้รับบริการ ในการเข้าถึงบริการตรวจเอชไอวี
ด้วยตนเองผ่านร้านขายยา
2) เพื่อนำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะทั้งในส่วนที่เป็นประโยชน์และข้อกังวล
เกี่ยวกับการใช้ชุดตรวจเอชไอวีด้วยตนเอง จากผู้ใช้ชุดตรวจเอชไอวีด้วยตนเอง
ผู้ให้บริการ  ได้แก่ร้านขายยา ผู้ให้คำปรึกษาทางสายด่วน หน่วยบริการสุขภาพ รวบรวมเป็นข้อมูล เพื่อเตรียมความพร้อมและจัดระบบบริการ การเข้าถึงและใช้
ชุดตรวจเอชไอวีด้วยตนเอง
แพทย์หญิงวลัยรัตน์ ไชยฟู
20 DGHT BATS-Care Strengthening ART and Laboratory Services among Men Who Have Sex with Men in Thailand(PrEP2start-SU-renamed) โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการสาธารณสุขและพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อให้บริการยาต้านไวรัสโดยเร็ว (Rapid ART) ทุกระดับซีดี 4 และการติดตามดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง การสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1) เพื่อให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี เข้าถึงการรักษาด้วยยาต้านไวรัสดดยเร็วทุกระดับ ซีดี 4
ลดการเสียชีวิตจากการติดเชื้อ 2) ผู้รับบริการที่รักษาด้วยยาต้านไวรัส ได้รับการกดเชื้อไวรัส เพื่อลดเชื้อไวรัสในกระแสเลือดให้ต่ำที่สุด (ต่ำกว่า 50 copies/ml)
นางพัชรภรณ์ ภวภูตานนท์
17 DGHT BATS-Care-Lab Strengthening ART and Laboratory Services among Men Who Have Sex with Men in Thailand(PrEP2start-Lab-renamed) โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งระบบบริการสาธารณสุขและศักยภาพบุคลากรเพื่อให้บริการยาต้านไวรัสอย่างรวดเร็ว โดยไม่คำนึงถึงระดับซีดี 4 ด้านการตรวจทางห้องปฏิบัติการ สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1) เสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนางานด้านการตรวจทางห้องปฏิบัติการให้เกิด
การสนับสนุนด้านการป้องกันและดูแลรักษา HIV/AIDS ให้บรรลุเป้าหมาย 90-90
90  2) ปรับปรุงคุณภาพการบริการด้านการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ให้มีประสิทธิภาพ ในการติดตามการรักษา
นางสาวนภารัตน์ ภัทรประยูร
21 DGHT SI-DTU Strengthening national strategic information system And enhancing cascade monitoring capacity and system for key population and persons living with HIV/AIDS โครงการเสริสร้างความเข้มแข็งของระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์และเพิ่มศักยภาพบุคลากรในระดับพื้นที่ในการใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อการติดตามการำเนินงานและบริการในกลุ่มประชากรหลักและผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีเอดส์ ประเทศไทย สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เพื่อพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรในการใช้ประโยชน์จากข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์
ในการวางแผนและปรับปรุงคุณภาพการดำเนินงาน ในระดับประเทศ
และจังหวัด
นายสามารถ พันธ์เพชร
22 DGHT SI-PS-ICT Strengthening Health Management Information System and Building Human Rosource Capacity on Utilization of Strategic Information to Promote Effective HIV/AIDS Program Management, thailand โครงการพัฒนาระบบข้อมูลบริการทางการแพทย์และสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข และพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีและภาวะที่เกี่ยวข้อง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1) พัฒนระบบปฏิบัติการข้อมูลสารสนเทศที่สามารถเชื่อมต่อฐานข้อมูลการให้บริการในระดับโรงพยาบาลและห้องปฏิบัติการ ในการรายงานผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยที่ต้องเฝ้าระวังตามแนวทางพ.ร.บ. โดรคติดต่อ พ.ศ. 2558
2) พัฒนาระบบการจัดทำรายงานสรุปผลการเฝ้าระวัง และสรุปผลการดำเนินงาน
สำหรับบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในแต่ละระดับ ให้เข้าถึงและใช้ประโยชน์ในการป้องกัน
และควบคุมโรค โดยเป็นไปตามแนวทางมาตรฐาน การปกป้องข้อมูลส่วนบุคล
3) เพิ่มศักยภาพบุคลากรในการบริหารจัดการข้อมูลบริการทางการแพทย์ และ
ใช้ข้อมูลในการรายงาน Case-based Reporting surveillance
4) พัฒนาช่องทางการเข้าถึงสารสนเทศ เพื่อการวิเคราะห์และวางแผนด้านการเฝ้าระวังและควบคมการติดเชื้อ เอชไอวี เอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ในรูปแบบ Dashboard on mobile ด้วยเทคดนโลยีที่ทันสัย เช่น AI IoT
นางสาวรุ่งนิภา  อมาตยคง
23 DGHT SI-SUR Strengthening national strategic information system to enhance cascade monitoring capacity and system for key population and persons living with HIV/AIDS โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบข้อมูลเชิงกลยุทธ์ด้านเอชไอวีและเอดส์ ประเทศไทย เพื่อยกระดับคุณภาพและระบบการติดตามการติดเชื้อเอชไอวี ในกลุ่มประชากรหลัก และผู้ติดเชื้อเอชไอวี สำนักระบาดวิทยา ผู้อำนวยการสำนักระบาดวิทยา 1) เพื่อปรับปรุงคุณภาพของระบบเฝ้าระวังในการติดตามสถานการณ์
การแพร่ระบาด ผลกระทบและผลลัพธ์ ของการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
2) พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการใช้ข้มูลเชิงกลยุทธ์เพื่อการวางแผนและ
ปรับปรุงะบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีในระดับประเทส เขต จังหวัด
นางนิรมล ปัญสุวรรณ
24 DGHP DGHP-DeNARS Developing of National Antimicrobial Resistance and Response System โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังและตอบสนองต่อผู้ป่วยโรคติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ สำนักระบาดวิทยา ผู้อำนวยการสำนักระบาดวิทยา 1) พัฒนาระบบเฝ้าระวัง และตอบสนองผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ
2) พัฒนาแนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ
3) เสริมสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ จากเครือข่ายด้านระบาดวิทยา การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ คระกรรมการอาหารแลยา การดูแลผู้ป่วยและปศุสัตว์
นายธีรศักดิ์ ชักนำ
25 DGHP DGHP-EIGNA Enhanced Incorporation of Global and National Antimicrobial Resistance Surveillance โครงการการพัฒนาระบบเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพระดับชาติสู่ระดับโลก สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 1) .เพื่อเชื่อมประสานระบบการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพของประเทศและของโลก
2) เพื่อศึกษาลักษณะทางสายพันธ์ ความชุก และระบาดวิทยาของเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย
3) พัฒนาศักยภาพและมาตรฐานทางห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลเครือข่าย
นางสาววันทนา ปวีณกิตติพร
26 DGHP DGHP-Farmer Implementation of Event-Based surveillance among Poultry and Swine Farmers to Reduce the Burden of Zoonotic Diseases โครงการเฝ้าระวังเหตุการณ์ในกลุ่มผู้เลี้ยงสัตว์ปีกและสุกรเพื่อลดปัญหาโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน สำนักระบาดวิทยา ผู้อำนวยการสำนักระบาดวิทยา 1) พัฒนาระบบเฝ้าระวัง เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้อง กับดรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนในกลุ่มผู้เลี้ยงไก่และกลุ่มผู้เลี้ยงสุกร 2) เพื่อขยายเครือข่ายการเฝ้าระวังโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนในระดับชุมชนและกลุ่มผู้เลี้ยงสัตว์ นางสาวภาวินี ด้วงเงิน
27 DGHP DGHP-IPC Advancing Hospital Infection Prevention and Control Practices for EIDs, DGHP-IPC โครงการพัฒนาเครือข่ายการป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลของโรคอุบัติใหม่ สำนักวิชาการ กรมการแพทย์ แพทย์หญิงนฤมล  สวรรค์ปัญญาเลิศ 1) เฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลชนิดการติดเชื้อในกระแสเลือด
2) สร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายด้านการควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
3) เตรียมความพร้อมให้โรงพยาบาลเพื่อรับมือ หากเกิดการระบาดของโรคติดเชื้อหรือการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยา
แพทย์หญิงนฤมล  สวรรค์ปัญญาเลิศ
28 DGHP DGHP-MOPH-EOC Strengthening of the Emergency Operations Centers (EOCs) for Public Health Emergency Management โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน เพื่อการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข กรมควบคุมโรค ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน 1) เสริมสร้างพัฒนาศักยภาพกำลังคน และระบบ สำหรับการปฏิบัติการในศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินระดับชาติของกรมควบคุมโรค
2) จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน ในระดับเขตและจังหวัด
นางอัญชลี สิทธิชัยรัตน์
29 DGHP DGHP-OH Strengthen One Health Collaborations through Thailand One Health Center โครงการสร้างความเข้มแข็งของความร่วมมือตามแนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียวผ่านศูนย์สุขภาพหนึ่งเดียว ประเทศไทย สำนักโรคติดต่อทั่วไป ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่อทั่วไป 1) เสริมสร้างความเข้มแข็งในการประสานงานระบบเฝ้าระวัง ระหว่าง คน สัตว์ สัตว์ป่า โดยผ่านการพัฒนาระบบเฝ้าระวังร่วมกัน ในหลายภาคส่วน
2) เสริมสร้างความเข้มแข็ง ความร่วมมือ ระหว่างภาคส่วน และพัฒนาศักยภาพการประสานงาน โดยผ่านศูนย์ประสานงานเครืข่าย สุขภาพหนึ่งเดียว
นายโสภณ เอี่ยมศิริถาวร
30 DGHP DGHP-OH-WFD Strengthen National Workforce Development using One Health Approach โครงการสร้างความเข้มแข็งในการพัฒนากำลังคนด้านระบาดวิทยาระดับชาติตามแนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว สำนักระบาดวิทยา ผู้อำนวยการสำนักระบาดวิทยา 1) พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งแก่ระบบ โครงสร้าง และสถาบันฝึกอบรมนักระบาดวิทยาภาคสนาม  2) เพิ่มคุณภาพและปริมาณกำลังคนด้านระบาดวิทยาทั้งสุขภาพคนและสุขภาพสัตว์ทุกระดับของประเทศ  3) ส่งเสริมนักระบาดวิทยาภาคสนามรวมถึงพัฒนาอาจารย์ด้านระบาดวิทยา  4) เสริมสร้างเครือข่ายด้านระบาดวิทยาให้มีความยั่งยืน นายแพทย์เฉวตสรร นามวาท
31 DGHP DGHP-AISP Avian Influenza Serveillance among poultry and lived bird market in border provinces โครงการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในฝูงสัตว์ปีกและตลาดสัตว์ปีกมีชีวิตในจังหวัดชายแดน กรมควบคุมโรค ผู้อำนวยการสำนักงานความร่วมมือระหว่างประเทศ กรมควบคุมโรค 1. เพื่อตรวจจับการระบาดของโรคไข้หวัดนก จากฝูงสัตว์ปีกมีชีวิตในพื้นที่จังหวัดชายแดน
2.ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้หวัดนกในฝูงสัตว์ปีก ตลาดสัตว์ปีกมีชีวิต
เกษตรกรผู้เลี้ยงและผู้ค้าสัตว์ปีก
สพ.ญ. เสาวพักตร์ ฮิ้นจ้อย
32 FLU FLU-Bangkok Flu-Bangkok: Establishing an integrated surveillance system for monitoring trend and circulation of influenza subtypes and other respiratory pathogens in travelers and residents of Bangkok seeking care at hospitals โครงการจัดตั้งระบบเฝ้าระวังแบบบูรณาการเพื่อติดตามแนวโน้มสถานการณ์และสายพันธุ์ไข้หวัดใหญ่และเชื้อก่อโรคระบบทางเดินหายใจอื่นๆ ในนักท่องเที่ยวและผู้พักอาศัยในกรุงเทพมหานครที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง ผู้อำนวยการสถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง 1) เสริมสร้างความเข้มแข็งระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ด้านการตรวจจับและติดตามสถานการณ์ สายพันธ์เชื้อก่อโรคไข้หวัดใหญ่ในพื้นที่ กทม. และพื้นที่เขต
เมืองของประเทศไทย
2) พัฒนาระบบการรายงานเฝ้าระวังแนวโน้มสายพันธ์เชื้อก่อโรคไข้หวัดใหญ่ ในพื้นที่ กทม. และพื้นที่เขตเมืองของประเทศไทย
3) เสริมสร้างความเข้มแข็ง เครือข่ายโรงพยาบาลเอกชนในการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ และเชื้อก่อโรค ระบบทางเดินหายใจอื่นๆ ในพื้นที่ กทม.
นางกัญญารัตน์ จารุดิลกกุล
33 FLU FLU-DARRT Strengthen Respiratory Disease Outbreak Detection and response in Thailand (MoPH-PhaseIV-Flu-DARRT-Non-Research) โครงการพัมนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งการตรวจจับและตอบโต้การระบาดของโรคทางเดินหายใจ ในประเทศไทย สำนักโรคติดต่อทั่วไป ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่อทั่วไป 1) เสริมสร้างความเข้มแข็งเฝ้าระวังและการตอบสนองต่อโรคระบบทางเดินหายใจ
2) ตรวจจับการระบาดของโรคทางเดินหายใจได้อย่างทันท่วงที
3) พัฒนารูปแบบการศึกษาด้านสุขภาพเพื่อตอบสนองและควบคุมการระบาด
ที่มีประสิทธิภาพ
นางนพรัตน์ มงคลางกูร
34 FLU FLU-LAB Enhancement of Thailand’s Laboratory Capacity to prepare and Respond for Pandemic Influenza and Viral Emerging Diseases through EQA program and educate the health personnel on influenza and Other respiratory viruses including emerging viral diseases โครงการการเพิ่มศักยภาพของห้องปฏิบัติการของไทยในการเตรียมพร้อมและตอบสนองต่อโรคไข้หวัดใหญ่ระบาดและโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสผ่านโปรแกรม EQA และให้ความรู้แก่บุคลากรสาธารณสุขเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่และไวรัสทางเดินหายใจอื่นๆ รวมถึงไวรัสอุบัติใหม่ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 1) ยกระดับโปรแกรมทดสอบความชำนาญการตรวจวินิจฉัยไข้หวัดใหญ่และไข้หวัดนก ให้มีมาตรฐานสากล และส่งผลให้ห้องปฏิบัติการเครือข่ายมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
2) ให้ความรู้แก่บุคลากรสาธารณสุขเกี่ยวกับโรคไข้หวัดใหญ่ และไวรัสทางเดินหายใจ อื่นๆ รวมทั้งโรคไวรัสอุบัติใหม่
3) เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและเผยแพร่ข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับโรคไข้หวัดใหญ่ และโรคจากเชื้อไวรัสอุบัติใหม่ ผ่านเว็บไซต์ของสมาคม
นางสาวมาลินี จิตตกานต์พิชญ์
35 FLU FLU-RightSize Use the APHL tool to right-size influenza surveillance in Thailand โครงการพัฒนาการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่เพื่อตรวจจับเชื้อก่อโรคอย่างมีประสิทธิภาพในประเทศไทย สำนักระบาดวิทยา ผู้อำนวยการสำนักระบาดวิทยา 1) เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวังไข้หวัดใหญ่ในการตรวจจับเหตุการณืผิดปกติของการระบาดได้อย่างทันท่วงที
2) เพื่อพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงานระบาดวิทยาและหน่วยงานชัณสูตรในระดับชาติ สำหรับการตอบโต้ การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่
แพทย์หญิงภาวินี ด้วงเงิน
36 FLU FLU-Treatment Enhancement of Influenza Treatment โครงการพัฒนาคุณภาพการรักษาไข้หวัดใหญ่ สำนักวิชาการ กรมการแพทย์ แพทย์หญิงนฤมล  สวรรค์ปัญญาเลิศ 1) พัฒนาเครือข่ายด้านการวินิจฉัย และดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่/
ไข้หวัดนก เพื่อกระตุ้น ให้เกิดคามตระหนักหากเกิดการ ระบาดของไข้หวัดใหญ่
2) สำรวจการใช้คู่มือแพทย์และบุคลากรทางสาธารณสุขในการรักษาและดูแลผู้ป่วยที่ติดเชื้อ หรืออาจติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ ในกลุ่มแพทย์ และบุคลากรสาธารรสุข
เพื่อพิจารณาผลกระทบของคู่มือ ฯ ต่อการให้การรักษา และดูแลผู้ป่วยที่ติดเชื้อหรืออาจติดเชื้อไข้หวัดใหญ่
3) จัดตั้งเครือขายการประสานงานไข้หวัดใหญ่/ไข้หวัดนก
นางนริศรา แย้มทรัพย์

Non-research Cooperative Agreement With Ministry of Public Health-Thailand
Year 3 (FY2019) (September 1, 2018 –  August 31, 2019)

BMA 6 โครงการ

No. Program Project Code Project Name ชื่อโครงการภาษาไทย หน่วยงาน Project Investigator (PI) ผู้ประสานงานโครงการ
1 BMA BMA-BCU BMA Coordinating Unit โครงการหน่วยประสานงานโครงการภายใต้ความร่วมมือระหว่างกรุงเทพมหานครและศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐ ด้านสาธารณสุข สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร นพ.สมชาย จึงมีโชค
รองผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
ผู้จัดการหน่วยประสานงานโครงการฯ
นส.ดาราพร เอื้อชลิตานกูล
2 BMA BMA-CASCADE Optimizing HIV treatment access and retention in care by enhanced quality of HIV service, laboratory system and established effective referral system in BMA โครงการเพิ่มประสิทธภาพการเข้าถึงการรักษาเอชไอวี และการคงอยู่ในระบบการดูแลรักษา ด้วยการเพิ่มคุณภาพการบริการด้านเอชไอวี ระบบการตรวจทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ และระบบการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพในกรุงเทพมหานคร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร พญ.คัชรินทร์ เจียมศรีพงษ์
ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ สำนักการแพทย์
นส. เฟื่องฟ้า  รัตนชื่น
3 BMA BMA-SI Enhancing cascade monitoring capacity and systems for MSM and TG women in Bangkok การเสริมสร้างพัฒนาระบบการติดตามประเมินผลตามกรอบการดำเนินงานการเข้าถึง-การเข้าสู่บริการ-การตรวจเอชเอวี-การรักษา-การคงอยู่ในระบบการรักษา (R-R-T-T-R) ในกลุ่มประชากรชายมีเพศสัมพันธ์กับชายและสาวประเภทสอง กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
พญ.อลิศรา ทัตตากร
ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคเอดส์
วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นส.เกศราภรณ์ ศรีลำเจียก
4 BMA  BMA-CareNet Strenghtening BMA network for increasing HIV testing, linkage to care and retention in Bangkok and Greater Bangkok เสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายการดูแลรักษาในกรุงเทพมหานคร เพื่อเพิ่มการให้บริการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีและคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การส่งต่อเข้าสู่การดูแลรักษาและการคงอยู่ในระบบรักษาอย่างต่อเนื่อง ในกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชายและสาวประเภทสอง กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
พญ.อลิศรา ทัตตากร
ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคเอดส์
วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นส.วิยะดา ปิยะไพร
5 BMA BMA-HTS Increasing access by MSM and TG women to HCT, STI screening, and PrEP in BMA health centers ส่งเสริมความเข้มแข็งของหน่วยบริการสาธารณสุขเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการคัดกรอง HIV/STI และการใช้ยาต้านไวรัสป้องกันการติดเชื้อก่อนการสัมผัสในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
พญ.อลิศรา ทัตตากร
ผู้อำนวยการกองควบคุมโรคเอดส์
วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นส.วราภรณ์ ยิ้มใย
6 BMA BMA-DGHP-Zoo Zoonotic Disease Prevention and Control ควบคุมป้องกันโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน กองควบคุมโรคเอดส์ วัณโรคละโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
นสพ.วีระชัย ศักดาจิวะเจริญ
หัวหน้ากลุ่มพัฒนาทางระบาดวิทยาโรคสัตว์สู่คน
สำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุข
นสพ.วีระชัย ศักดาจิวะเจริญ